GC_ONE REPORT 2021_TH

บริษัทฯ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของพนักงานและผู้รับเหมา ประจ� ำอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้พนักงานและ ผู้รับเหมามีสุขภาพที่แข็งแรง มีประสิทธิภาพในการท� ำงานมากขึ้น เป็นการพัฒนาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจอย่างยั่งยืน 3. การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ เป็นผู้น� ำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ที่ผสานนวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม ตลอดห่วงโซ่คุณค่า เป็นผู้น� ำด้านการบริหารจัดการและพัฒนา ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บนพื้นฐานของ การด� ำเนินงานที่ยึดมั่นในการปฏิบัติตามมาตรฐานและข้อก� ำหนด ด้านสิ่งแวดล้อมทั้งระดับประเทศและระดับสากลสอดรับกับแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) รวมทั้งเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยองค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) ดังนี้ 3.1) ยึดมั่นในการปฏิบัติตามมาตรฐาน และข้อก� ำหนดด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด บริษัทฯ ให้ความส� ำคัญในการป้องกันมิให้เกิดผลกระทบกับ สิ่งแวดล้อม โดยก� ำหนดให้มีการควบคุมและป้องกันตั้งแต่ ขั้นตอนการออกแบบก่อนเริ่มด� ำเนินโครงการ รวมถึงด� ำเนิน การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ครอบคลุมมิติต่างๆ ของ แต่ละโครงการในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) อย่างละเอียด รวมถึงการปฏิบัติตามมาตรการในการป้องกันและลดผลกระทบ อย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตร การฯต่อหน่วยงานราชการที่ก� ำกับดูแลอย่างต่อเนื่องและ สม�่ ำเสมอ รวมทั้งน� ำระบบบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน ISO 14001:2015 มาใช้เป็นมาตรฐานขั้นต้นใน การปฏิบัติงาน และได้น� ำมาตรฐานหรือแนวการปฏิบัติที่ดีใน ระดับสากลมาประยุกต์ใช้ร่วมด้วย เช่น ใช้แนวทางสากลใน การประเมินความเป็นอันตรายของผลิตภัณฑ์ที่อาจจะส่งผล ต่อสิ่งแวดล้อม (Guidance on Chemical Risk Assessment) ของสหพันธ์สากลสมาคมผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมเคมี (International Council of Chemicals Association: ICCA) และมีการประเมินความเสี่ยงจากการขาดแคลนน�้ ำ โดยใช้ เครื่องมือ Aqueduct Water Risk Atlas ของ World Resources Institute (WRI) เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดให้มีการด� ำเนินการตรวจสอบข้อมูลผลการด� ำเนินงาน ทางด้านสิ่งแวดล้อมโดยหน่วยงานภายนอกเป็นประจ� ำทุกปี 3.2) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงรุก (Proactive Environmental Management: PEM) และพัฒนาตัวชี้วัดที่ยั่งยืน บริษัทฯ ได้น� ำปรัชญาการบริหารจัดการทรัพยากรควบคู่กับ การด� ำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนที่เรียกว่า ประสิทธิภาพนิเวศ เศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) ตามคู่มือของ United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) มาเป็นดัชนีชี้วัดสมรรถภาพด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2551 โดยมุ่งลดการปลดปล่อยมลพิษ และปรับปรุงการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลดของเสียที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมและกระบวนการผลิตตามหลักการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ตามมาตรฐาน BS 8001: 2017 (มาตรฐานด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน) ควบคู่ ไปกับการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการรายงานดัชนีชี้วัด ทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Performance Database) ภายใต้กรอบการรายงานตามมาตรฐานสากล ของ Global Reporting Initiative (GRI) Standards ซึ่ง สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การ สหประชาชาติ เป้าหมายที่ 12 การบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (UNSDG 12: Responsible Consumption and Production) รวมทั้งได้ ด� ำเนินการจัดท� ำบัญชีการวัดปริมาณและ การรายงานผลการปล่อยและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก ตามมาตรฐาน ISO 14064-1 เป็นรายแรกของอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีและการกลั่นของประเทศไทยและด� ำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกโรงงานในกลุ่มบริษัทฯ นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้จัดท� ำแผนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เชิงรุกทั้งภายในพื้นที่โรงงานและบริเวณพื้นที่โดยรอบของ โรงงาน โดยประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน เป็นพื้นฐาน ในการขับเคลื่อนการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดภายใน องค์กร เพื่อควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีกว่า มาตรฐาน ลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ ตัวอย่างการด� ำเนินงาน เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรและของเสีย บริษัทฯ มุ่งมั่นบริหารจัดการทรัพยากรและของเสียตาม หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และลด ปริมาณของเสียที่อาจจะ เกิดขึ้นให้ เหลือน้ อยที่สุด โดยบริษัทฯ แลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ และพลังงาน เชื้อเพลิงที่เหลือจากกระบวนการผลิต เป็นการเพิ่มมูลค่า ระหว่างโรงงาน ตั้งแต่ธุรกิจขั้นต้น ส่งเสริมให้เกิดความ ตระหนักแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในองค์กรและภายนอก องค์กร โดยการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ต่อยอด ไปสู่วัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการของเสียและ ทรัพยากรโดยใช้แนวคิด 5Rs (Reduce, Reuse, Recycle, Refuse, Renewable) เพื่อลดปริมาณการเกิดของเสีย และ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดตลอดห่วงโซ่คุณค่า สร้างให้เกิดความส� ำเร็จในการลดของเสียน� ำไปฝังกลบให้ เป็นศูนย์ (Zero Waste to Landfill) ตั้งแต่ปี 2558 และ ด� ำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งมีการหมุนวน ของเสียและน�้ ำเสียกลับมาใช้ประโยชน์ผ่านกระบวนการ ลดการใช้ ใช้ซ�้ ำ น� ำกลับมาใช้ใหม่ รวมทั้งมีการด� ำเนินการ 177 การประกอบธุรกิจ และผลการดำ �เนินงาน การกำ �กับดูแลกิจการ งบการเงิน ภาคผนวก

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=