GC_ONE REPORT 2021_TH

(Data Governance Framework) และการก� ำกับดูแลข้อมูล ของผู้มีส่วนได้เสีย ปรับปรุงนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และแนวปฏิบัติ ของบริษัทฯ ให้ สอดคล้ องกับแบบประเมินตนเอง ฉบับปรับปรุง 4.0 ของแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของ ภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption: CAC) ปรับปรุงนโยบายการรับข้อร้องเรียน ให้ครอบคลุมเรื่องสิทธิ มนุษยชนตามเกณฑ์ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ปรับปรุงเนื้อหาและแนวปฏิบัติในคู่มือการก� ำกับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และการ ด� ำเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งปิด Gap เพิ่มเติมตามเกณฑ์ การประเมินด้ านการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีทั้งในและ ต่างประเทศ (4) การก� ำกับดูแลนโยบายและการด� ำเนินงานของบริษัทในกลุ่ม ปรับปรุงหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการแต่งตั้งผู้บริหาร ของบริษัทฯ ไปด� ำรงต� ำแหน่งกรรมการบริษัทในกลุ่ม เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลักดันวัตถุประสงค์การลงทุนของบริษัทฯ จัดท� ำคู่มือกรรมการบริษัทในกลุ่ม GC (GC Subsidiaries Director’s Governance Handbook) เพื่อก� ำหนดขอบเขต หน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจนมากขึ้น และใช้เป็นแนวทาง ในการทวนสอบการปฏิบัติงานของกรรมการด้วยตนเอง จัด Site Visit Sessions เพื่อสอบทานการด� ำเนินงานของ บริษัทในกลุ่ม ตามแนวทางการบริหารจัดการแบบกลุ่ม GC (GC Way of Conduct) รวมทั้งจัดท� ำ Site Visit Close Out เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้บริหารสูงสุดและ ผู้เกี่ยวข้องของบริษัทในกลุ่ม รวมทั้งทีมงานของบริษัทฯ ในการด� ำเนินงานตาม GC Way of Conduct ให้ส� ำเร็จ ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ พัฒนา Webpage ผ่านระบบ Share Point เพื่อเพิ่มช่องทาง ในการเข้ารับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ GC Way of Conduct ที่เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา เช่น เอกสารสื่อความ ค� ำถาม ที่พบบ่อย เป็นต้น ให้ค� ำปรึกษา (Consulting Engagement) เกี่ยวกับการ ควบคุมภายใน แก่บริษัทในกลุ่มที่จัดตั้งใหม่ ให้ค� ำปรึกษาและสนับสนุนให้บริษัทในกลุ่ม GC จัดท� ำ นโยบายการก� ำกับดูแลกิจการที่ดี นโยบายต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชัน คู่มือการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ธุรกิจเป็นของตนเอง เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กร และลักษณะการประกอบธุรกิจ ตลอดจนเสริมสร้างให้บริษัท ในกลุ่ม GC มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นไปตามหลักการก� ำกับดูแล กิจการที่ดี สื่อสา รและแนะน� ำกา รปร ะ เมินกา รควบคุมร ะดับ กระบวนการให้กับบริษัทในกลุ่มที่เป็น Strategic Owner และ Operator โดยพิจารณาทั้งในส่วนของการควบคุม ภายใน (Internal Control) และการก� ำกับดูแลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ (Compliance) โดยใช้ Methodology ของ Control Self-Assessment (CSA) (5) ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ลูกค้า/คู่ค้า พัฒนาระบบ Sale Service เพื่อรองรับการจัดการเสียงของ ลูกค้าอย่างเป็นระบบมากขึ้น จัดท� ำค� ำประกาศคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) และหนังสือให้ความยินยอม (Consent Form) ในการเก็บ ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประเมินคู่ค้า ด้านการด� ำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พัฒนาระบบ Approved Customers/Suppliers System เพื่อคัดเลือกลูกค้า/คู่ค้า ส� ำหรับงานจัดหาวัตถุดิบและ จ� ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นมาตรฐาน และสามารถตรวจสอบได้ พนักงาน ปรับปรุงระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) เพื่อให้หัวหน้างานและลูกน้อง มีการพูดคุยกันอย่างสม�่ ำเสมอ (Feedback) สามารถ ทบทวนเป้าหมายและประเมินผลงานได้ตลอดเวลา (Dynamic) ใช้จัดล� ำดับผลการประเมินภายในหน่วยงาน (Performance Ranking) และรองรับการปฏิบัติงานได้ทุกที่ (MobileWorking Support) พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ Online, Classroom, e-Learning และ Micro-Learning จัดอบรมหลักสูตรพี่เลี้ยงทางการเงิน เพื่อเป็น Change Agent ของสายงานในการช่วยส่งต่อความรู้ด้านการลงทุน สู่พนักงานทุกระดับ จัดหาวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้กับพนักงาน รวมทั้งดูแล จัดหาสถานที่กักตัว ในกรณีพนักงานหรือคนในครอบครัว ของพนักงานได้รับเชื้อโควิด-19 (6) การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ปรับปรุง Risk Matrix เพื่อจัดล� ำดับความส� ำคัญของ ความเสี่ยงให้ชัดเจนขึ้น และปรับปรุงเกณฑ์การประเมิน ความเสี่ยงด้านผลกระทบและโอกาสที่จะเกิด เพื่อน� ำไป ประเมินความเสี่ยงต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจและ เชิงกลยุทธ์ในปี 2565 ต่อไป จัดซ้อมแผนการรับมือภาวะวิกฤตจากภัยคุกคามทาง ไซเบอร์ที่ระบบ Operation Technology (OT) ทั้งในส่วน ระดับปฏิบัติการ Cyber Incident Response และระดับ Corporate Crisis Management พัฒนาระบบ IdeaMANI ให้สามารถติดตามดัชนีชี้วัด ความเสี่ยง (Key Risk Indicator: KRI) ซึ่งเป็น Leading Indicator ผ่านระบบออนไลน์ได้ พัฒนาระบบการประเมิน COSO Connect ส� ำหรับการ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมของบริษัทฯ ผ่านระบบออนไลน์ ด� ำเนินการในเรื่องการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน ได้แก่ เข้าร่วม เป็น CAC Change Agent เพื่อขยายเครือข่ายธุรกิจโปร่งใส ไปยังบริษัทคู่ค้า ผลักดันบริษัทในกลุ่มที่มีความพร้อมเข้าร่วม เป็นสมาชิก CAC เพิ่มขึ้น และจัดท� ำระบบ Automated 129 การประกอบธุรกิจ และผลการดำ �เนินงาน การกำ �กับดูแลกิจการ งบการเงิน ภาคผนวก

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=