GC One Report 2023 [TH]

สถานการณ์ราคาและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมในปี 2566 ปรับลดลง โดยสาเหตุส� ำคัญมาจากการคลายความกังวล ของอุปทานน�้ ำมันส� ำเร็จรูปของรัสเซียจะลดลงหลังถูกประเทศ ในกลุ่มยุโรปและกลุ่ม G7 ออกมาตรการห้ามน� ำเข้าผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมจากรัสเซีย โดยสหรัฐฯ ให้มาตรการดังกล่าวมีผล บังคับใช้ในเดือนมีนาคม 2565 และยุโรปมีผลบังคับใช้เดือน กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งผลลัพธ์ที่ปรากฏพบว่าการส่งออก ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากรัสเซียยังคงไม่ลดลงอย่างที่ตลาด คาดการณ์ เนื่องจากรัสเซียสามารถเปลี่ยนเส้นทางการส่งออก ไปยังประเทศที่สามเพื่อทดแทนได้ เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทูร์เคีย และบราซิล เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยกดดันราคา จากการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ ท� ำให้ค่าเงิน ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นจนท� ำให้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ซื้อขายด้วย สกุลเงินดอลลาร์สูงขึ้นตามและกดดันอุปสงค์ นอกจากนี้ สภาพอากาศของโลกได้เปลี่ยนจากลานีญาในปี 2565 มาเป็น เอลนีโญในปี 2566 ท� ำให้อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้นกว่าปกติ ส่งผลให้อุปสงค์ภาคไฟฟ้าลดต�่ ำลง ประกอบกับราคาก๊าซ ธรรมชาติได้ปรับลดลง จากการที่ระดับก๊าซธรรมชาติในคลัง ของประเทศฝั่งยุโรปโดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงเหนือร้อยละ 90 ของความจุคลัง ท� ำให้ปี 2566 ราคาก๊าซธรรมชาติลดลงจนต�่ ำ กว่าราคาน�้ ำมันดิบและน�้ ำมันดีเซล ส่งผลให้อุปสงค์น�้ ำมันดิบและ น�้ ำมันดีเซลไม่ได้รับแรงสนับสนุนจากปัจจัยการเปลี่ยนเชื้อเพลิง จากก๊าซธรรมชาติมาเป็นน�้ ำมันดิบหรือน�้ ำมันดีเซล (Gas-ToOil Switching Demand) เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้าเหมือน ในปี 2565 ทั้งนี้ รายละเอียดของแต่ละผลิตภัณฑ์ มีดังนี้ ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเบนซิน (Gasoline: ULG 95) กับน�้ ำมันดิบ ดูไบปี 2566 ได้รับปัจจัยกดดันจากการเพิ่มขึ้นของอุปทาน แนฟทา (Naphtha) หลังอุปสงค์แนฟทาจากภาคปิโตรเคมี ลดต�่ ำลง โดยเฉพาะจากสายผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ จึงท� ำให้ อุปทานแนฟทาคงเหลือเพิ่มขึ้นและน� ำไปใช้เป็นส่วนผสมใน น�้ ำมันเบนซินเพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้อุปทานน�้ ำมันเบนซินสูงขึ้น โดยส่วนต่างราคาน�้ ำมันเบนซินกับน�้ ำมันดิบดูไบอยู่ที่ 16.7 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวลดลง 2.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2565 ส่วนต่างราคาน�้ ำมันอากาศยาน (Jet/Kerosene) กับน�้ ำมันดิบ ดูไบปี 2566 ได้รับปัจจัยกดดันจากสภาพเศรษฐกิจของโลก ยังคงชะลอตัวจากภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยที่คงใน ระดับสูง ท� ำให้ส่วนต่างราคาน�้ ำมันอากาศยานกับน�้ ำมันดิบดูไบ อยู่ที่ 22.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวลดลง 7.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2565 ส่วนต่างราคาน�้ ำมันดีเซล (Diesel 10 PPM) กับน�้ ำมันดิบดูไบ ปี 2566 ได้รับปัจจัยกดดันจากการที่รัสเซียสามารถเปลี่ยน เส้นทางการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปยังประเทศที่สามได้ แม้ถูกคว�่ ำบาตรจากสหรัฐฯ และยุโรป ส่งผลให้ตลาดคลาย ความกังวลเรื่องอุปทานจะตึงตัวจากผลกระทบของการ คว�่ ำบาตรนี้ ท� ำให้ส่วนต่างราคาน�้ ำมันดีเซลกับน�้ ำมันดิบดูไบ ปี 2566 อยู่ที่ 24.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวลดลง 14.7 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2565 ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันสูง (High Sulfur Fuel Oil) กับน�้ ำมันดิบดูไบปี 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากอุปทานที่ ลดลง หลังซาอุดีอาระเบียและรัสเซียปรับลดก� ำลังผลิต น�้ ำมันดิบเพิ่มเติม 1.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งจะท� ำให้อุปทาน น�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันสูงหายไปจากตลาดประมาณ 0.3-0.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน เนื่องจากน�้ ำมันดิบของทั้งสองประเทศมี สัดส่วนผลผลิต (Yield) เป็นน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันสูง ประมาณร้อยละ 30 มีผลให้ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรด ก� ำมะถันสูงกับน�้ ำมันดิบดูไบปี 2566 อยู่ที่ -10.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 3.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จาก ปี 2565 ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำ (Low Sulfur Fuel Oil) กับน�้ ำมันดิบดูไบปี 2566 มีปัจจัยกดดันจากการเริ่มเดินเครื่อง ของโรงกลั่น Al-Zour ที่ประเทศคูเวต ซึ่งเป็นโรงกลั่นขนาดใหญ่ มีก� ำลังการกลั่นรวม 615,000 บาร์เรลต่อวัน และโรงกลั่นนี้ ถูกออกแบบให้ผลิตน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำได้มากถึง 225,000 บาร์เรลต่อวัน จึงมีอุปทานของน�้ ำมันเตาเกรด ก� ำมะถันต�่ ำออกสู่ตลาดโลกเป็นจ� ำนวนมาก โดยเฉพาะการ ส่งออกมาที่ตลาดสิงคโปร์ ซึ่งเป็นตลาดน�้ ำมันเตาที่ใหญ่ที่สุด ในโลก ท� ำให้ส่วนต่างราคาน�้ ำมันเตาเกรดก� ำมะถันต�่ ำกับ น�้ ำมันดิบดูไบปี 2566 อยู่ที่ 11.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวลดลง 11.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2565 แนวโน้มสถานการณ์ตลาด ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และสาธารณูปการปี 2567 สถานการณ์ราคาน�้ ำมันดิบปี 2567 คาดการณ์จะมีแนวโน้ม ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2566 โดยยังมีความกดดันของ ภาวะเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยยังคงอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องจาก ปีก่อนหน้า รวมถึงความไม่แน่นอนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ประเทศจีน ซึ่งส่งผลต่อความกังวลต่อการชะลอตัวของความ ต้องการใช้น�้ ำมัน โดยคาดว่าเศรษฐกิจโลกจะเริ่มฟื้นตัวได้ใน ช่วงครึ่งหลังของปี 2567 จากปัจจัยด้านมาตรการการกระตุ้น เศรษฐกิจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ ขณะที่ ด้านอุปทาน คาดการณ์กลุ่มโอเปกและพันธมิตร (โอเปกพลัส) ยังคงควบคุมก� ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาสมดุลของ ตลาด นอกจากนี้ สงครามที่เกิดขึ้นมีแนวโน้มที่จะยืดเยื้อและ ขยายไปยังประเทศใกล้เคียง อย่างไรก็ตาม คาดการณ์ความ ตึงตัวของอุปทานจะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากก� ำลังการผลิตที่ เพิ่มขึ้นของประเทศนอกกลุ่มโอเปก เช่น สหรัฐฯ บราซิล หรือ อิหร่านและเวเนซุเอลา ท� ำให้คาดการณ์ราคาน�้ ำมันจะยังคง ทรงตัวในระดับสูงได้และมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจากปี 2566 68

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=