GC One Report 2023 [TH]

หลักปฏิบัติ / แนวปฏิบัติ การปฏิบัติของบริษัทฯ ข้อ 3.1.2 คณะกรรมการควรพิจารณาจำ �นวนกรรมการ ที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องมีจำ �นวนกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่ควร เกิน 12 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับขนาด ประเภท และความซับซ้อน ของธุรกิจ คู่มือการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจของ บริษัทฯ ก� ำหนดไว้ว่า องค์ประกอบของคณะกรรมการ ต้องมีจ� ำนวนกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน ทั้งนี้ เป็นไปตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 13/2561 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2561 โดยเห็นว่าเป็นจ� ำนวนที่เหมาะสมกับขนาดความ ซับซ้อน และประเภทธุรกิจที่หลากหลายของบริษัทฯ ข้อบังคับบริษัทฯ ข้อที่ 12 ระบุว่า คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการจ� ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน 4.2.1 ข้อย่อย (1) คณะกรรมการควรกำ �กับดูแลให้มี การกำ �หนดโครงสร้างค่าตอบแทน โดยพิจารณาความ เหมาะสมของสัดส่วนค่าตอบแทนที่เป็นเงินเดือน ผลการ ดำ �เนินงานระยะสั้น เช่น โบนัส และผลการดำ �เนินงาน ระยะยาว เช่น Employee Stock Ownership Plan บริษัทฯ อยู่ระหว่างการพิจารณาโครงสร้างที่เหมาะสม ในการเชื่อมโยงค่าตอบแทนกับผลการด� ำเนินงานใน ระยะยาว และสภาวะตลาดหลักทรัพย์ที่เอื้ออ� ำนวยต่อ การด� ำเนินการ การปฏิบัติตามหลักการก� ำกับดูแลกิจการที่ดี ในเรื่องอื่นๆ บริษัทฯ ปฏิบัติตามหลักการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐาน ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2566 ได้ปฏิบัติ ดังนี้ ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ (Board KPIs) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการทบทวนดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัทฯ ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีตาม หลัก CG Code และเกณฑ์มาตรฐานสากล Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) เพื่อน� ำมาใช้เป็นตัวชี้วัดผลการ ปฏิบัติงานส� ำหรับปี 2566 การก� ำกับดูแลข้อมูล (Data Governance) บริษัทฯ ได้น� ำหลักปฏิบัติ และมาตรฐานการก� ำกับดูแลข้อมูล องค์กร (Data Governance Procedure and Standard) พัฒนาแพลตฟอร์มข้อมูล (Data Platform) โดยรวบรวม เทคโนโลยีที่มีหน้าที่ และการใช้งานที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ เทคโนโลยีการรวบรวมชุดข้อมูลขององค์กร (Data Ingestion & Collection) จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data storage) จัดการข้อมูล (Data Management) จัดเตรียมข้อมูลส� ำหรับ การวิเคราะห์ (Data Preparation) ตลอดจนเทคโนโลยีที่ใช้ ส� ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและแสดงผล (Data Analytics & Visualization) ถูกน� ำมาใช้เป็นเครื่องมือส� ำคัญ ขับเคลื่อน องค์กรดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ จึงน� ำเทคโนโลยีข้างต้น ริเริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้อมูล (Data Product) ระยะที่ 1 ในปี 2566 รวมทั้งสิ้น 22 จาก 39 ชุดข้อมูล เพื่อรองรับการขยายขีดความสามารถ ด้านการ วิเคราะห์เชิงลึก (Advance Analytic) แก่นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล ของแต่ละสายงานของ GC รวมถึงดิจิทัลยูสเคส (Digital Use-Cases) ต่างๆ ให้สามารถเข้าถึง และเรียกใช้ข้อมูลที่มี คุณภาพ น� ำไปต่อยอดและสร้างข้อได้เปรียบด้านการด� ำเนินงาน ทางธุรกิจ และระยะที่ 2 ปี 2567 ผลิตภัณฑ์ข้อมูล (Data Product) จ� ำนวน 17 ชุดข้อมูล จะถูกพัฒนาขึ้น เพื่อรองรับ ความต้องการใช้งานข้อมูลของ GC ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และทั่วทั้งองค์กร บริษัทฯ ได้ตระหนักเรื่องการควบคุมและติดตามผลิตภัณฑ์ ข้อมูลให้มีคุณภาพต่อเนื่อง พร้อมใช้งาน และสามารถน� ำ ผลิตภัณฑ์ข้อมูลกลับมาใช้ซ�้ ำได้ เพื่อลดต้นทุนในการพัฒนา และหลีกเลี่ยงค่าใช้จ่ายด้านบริหารจัดการที่ซ�้ ำซ้อน จึงได้ ก� ำหนดให้มีวิธีการท� ำงานด้านการก� ำกับข้อมูลให้มีคุณภาพ (Data Quality) การจัดการข้อมูลให้สอดคล้องกับกฎหมาย หรือ กฎระเบียบของบริษัทฯ และปกป้องข้อมูลให้ปลอดภัย (Data Security) การด� ำเนินงานดังกล่าวประกอบด้วย 148

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=