GC One Report 2023 [TH]

อีกทั้งบริษัทฯ ยังได้ก� ำหนดให้มีกระบวนการตรวจติดตามการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย (Compliance Monitoring) ของหน่วยงานภายในบริษัทฯ โดยก� ำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตของกฎหมาย กฎ ระเบียบที่ต้องปฏิบัติตาม และจัดท� ำ สรุปผล ให้ข้อเสนอแนะ รวมทั้งรายงานผลการตรวจติดตามให้ กับผู้บริหารที่รับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานรับทราบ ตลอดจน รายงานผลการปฏิบัติงานการก� ำกับดูแลการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบในภาพรวม และแผนการ ด� ำเนินการแต่ละปีต่อคณะกรรมการก� ำกับดูแลกิจการและการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ได้รับทราบและให้ความเห็น เพื่อให้การก� ำกับดูแลมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับกฎหมาย และเกณฑ์มาตรฐานสากล นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการสร้างความตระหนักรู้ (Building Awareness) ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายฯ ให้แก่บุคลากรใน องค์กรมาอย่างต่อเนื่อง ผ่านการจัดกิจกรรมในหลากหลาย รูปแบบตามความเหมาะสม เช่น จัดท� ำเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย อาทิ เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา การใช้สื่อสังคมออนไลน์ การฟอกเงิน และการจัดการข้อร้องเรียน เป็นต้น และให้มีการสื่อสาร ผ่านผู้บริหารไปยังพนักงานในลักษณะ Tone from the Top พัฒนาหลักสูตร Compliance overview ส� ำหรับผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อให้ศึกษาและท� ำความเข้าใจด้วยตนเอง ผ่านช่องทาง Hook Acknowledgement and Learning จัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรเทคนิคการสืบสวน ข้อร้องเรียน ส� ำหรับผู้บริหารระดับ Vice President ของ บริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม จัดการฝึกอบรมหลักสูตร Compliance Mandatory for New Manager ส� ำหรับผู้บริหารระดับ Division Manager ผ่านระบบ Online เป็นต้น การสื่อสารหลักการก� ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ สื่อสารหลักส� ำคัญในการก� ำกับดูแลกิจการที่ดี 6 ประการ (C R E A T E) ประกอบด้วย มีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับองค์กรในระยะยาว (Creation of Long-Term Value) รับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ (Responsibility) ปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม (Equitable Treatment) รับผิดชอบต่อการตัดสินใจและอธิบายการตัดสินใจ นั้นได้ (Accountability) โปร่งใสตรวจสอบได้ เปิดเผยข้อมูล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา ผ่านช่องทางที่เหมาะสมอย่าง เท่าเทียมกัน (Transparency) และมีจริยธรรมและจรรยาบรรณ ในการประกอบธุรกิจ (Ethics) ให้พนักงานทุกคนทราบ นับตั้งแต่การเริ่มท� ำงานในวันแรก เพื่อยึดถือและปฏิบัติตาม โดยปลูกฝังและย�้ ำเตือนอย่างต่อเนื่องผ่านการอบรม สัมมนา และกิจกรรมต่างๆ อาทิ จัดอบรมหลักสูตรภาคบังคับบนระบบ “Hook Acknowledgement and Learning” เพื่อให้ผู้บริหาร และพนักงานลงนามรับทราบและท� ำแบบทดสอบประเมินความ เ ข้ า ใจหลักการ ในคู่ มือการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ จัดกิจกรรม “PTT Group CG Day 2023: Good to Great – CG Empowering for the Future ผสาน พลังร่วม รวมพลังสร้าง สู่อนาคตยั่งยืน” ร่วมกับกลุ่ม ปตท. เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับพนักงาน รวมถึงคู่ค้า ลูกค้า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีกับการ ขับเคลื่อนองค์กรสู่อนาคตอย่างยั่งยืน รวมทั้งเข้ารับการ ประเมินผลการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของหน่วยงานก� ำกับดูแล โดยหน่วยงานประเมินภายในประเทศและตามมาตรฐานสากล อาทิ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย (TIA) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) เป็นต้น เพื่อวัดประสิทธิภาพการปฏิบัติตาม หลักการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีและรักษาระดับการก� ำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ผู้บริหารยังได้สื่อความเรื่องหลักการก� ำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน และการก� ำกับ ดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ผ่าน คลิปวิดีโอฮูก Talk ไปยังพนักงานผ่านการประชุมส� ำคัญของ สายงาน และการประชุมต่างๆ ภายในหน่วยงาน เพื่อกระตุ้น เตือนให้พนักงานประพฤติตนอย่างมีจริยธรรม ค� ำนึงถึงความเสี่ยง และการควบคุมภายใน และปฏิบัติงานโดยยึดหลักการก� ำกับ ดูแลกิจการที่ดี ระเบียบของบริษัทฯ กฎหมาย และเกณฑ์ต่างๆ อย่างเคร่งครัด อีกทั้งได้มีการปรับปรุงพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการ ที่ส� ำคัญของนโยบาย แนวปฏิบัติ และระบบการก� ำกับดูแลกิจการ ในปี 2566 บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส� ำคัญ เกี่ยวกับนโยบาย แนวปฏิบัติ และระบบการก� ำกับดูแลกิจการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการก� ำกับดูแลและยกระดับมาตรฐาน การก� ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ที่สอดคล้องกับหลักการและ หลักปฏิบัติของ CG Code สรุปดังนี้ 1. ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในฐานะผู้น� ำที่สร้างคุณค่า ให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 2 คณะ ได้แก่ กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเพิ่มขอบเขต หน้าที่ในเรื่องงานบริการประเภท NAS (Nonassurance Service) ของผู้สอบบัญชี เพื่อให้ สอดคล้องกับข้อก� ำหนดในคู่มือจรรยาบรรณ สากลส� ำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2565 และมาตรฐานความเป็นอิสระ 144

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=