GC_ONE REPORT 2021_TH

การบริหารจัดการน�้ ำอย่างยั่งยืน (Sustainable Water Management) บริษัทฯ ก� ำหนดกลยุทธ์การบริหารจัดการน�้ ำ อย่างยั่งยืน (One Water Strategy) ประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ การก� ำกับดูแลด้านการบริหาร จัดการน�้ ำ (Governance) การจัดการทรัพยากรน�้ ำ อย่างยั่งยืน (Water Stewardship) และการมี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการน�้ ำ (Resilience) โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการน�้ ำแบบบูรณาการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต น� ำน�้ ำกลับมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์ (Renewable Water) สนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยี ปรับปรุง กระบวนการผลิต ตลอดจนการหาแหล่งน�้ ำส� ำรอง เพื่อลดผลกระทบต่อการใช้น�้ ำจากการด� ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ และลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้สร้างเครือข่ายร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม เช่น สถาบันน�้ ำ และสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ศูนย์ปฎิบัติการน�้ ำภาคตะวันออก (Water War Room) และชมรมผู้ประกอบการ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (Maptaphut Plant Manager Club: PMC) เป็นต้น เพื่อผลักดัน และ ส่งเสริมแนวทาง และนโยบายการบริหารจัดการน�้ ำ ที่ยั่งยืน ครอบคลุมการบริหารจัดการความเสี่ยง ในการใช้น�้ ำ ตลอดจนสร้างความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ และภาคเอกชนในการบริหารจัดการน�้ ำ อย่างบูรณาการ ทั้งนี้ บริษัทฯ จัดท� ำโครงการภายในองค์กรเพื่อ สนับสนุนกลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ ำ อย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต โครงการผลิตน�้ ำจืด จากน�้ ำทะเล (Sea Water Reverse Osmosis: SWRO) และโครงการน� ำน�้ ำทิ้งจากระบบบ� ำบัด น�้ ำเสียกลับมาใช้ใหม่ (Wastewater Reverse Osmosis: WWRO) นอกจากนั้นยังศึกษา โครงการลดการปล่อยน�้ ำเสียเป็นศูนย์ (Zero Liquid Discharge: ZLD) ซึ่งเป็นโครงการที่น� ำ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาเพิ่มขีดความสามารถใน การผลิตโดยใช้น�้ ำอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นต้น การบริหารจัดการของเสีย (Waste Management) บริษัทฯ มีนโยบายการจัดการของเสีย ซึ่งมุ่งเน้นการลดปริมาณการเกิด ของเสียที่แหล่งก� ำเนิด และการน� ำ ของเสียทั้งจากกระบวนการผลิต และ กิจกรรมต่างๆ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ครอบคลุมการก� ำจัดของเสีย แบบอันตราย และไม่อันตราย ในทุก กิจกรรมการด� ำเนินงานของบริษัทฯ อาทิ การขยายก� ำลังการผลิต กิจกรรม การหยุดซ่อมบ� ำรุง โดยประยุกต์ใช้ หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ควบคู่ กับการใช้หลัก 5Rs ซึ่งประกอบไปด้วย การลดการใช้หรือใช้น้อยเท่าที่จ� ำเป็น (Reduce) การใช้ซ�้ ำ (Reuse) การแปรรูป มาใช้ใหม่ (Recycle) การใช้ทรัพยากร หมุนเวียน (Renewable) และการปฏิเสธ การใช้สารที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Refuse) ในปี 2564 บริษัทฯ จัดท� ำโครงการ บริหารจัดการของเสียตามกระบวนการ จัดก า ร ข อ ง เ สียที่ เ ป็ นมิต ร ต่ อ สิ่งแวดล้อม อาทิ โครงการซ่อมบ� ำรุง ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งช่วยลด การใช้ทรัพยากร และลดการเกิด ของเสียที่เกิดจากกิจกรรมซ่อมบ� ำรุง ทั้งประเภทอันตราย และไม่อันตราย อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จากการ ด� ำเนินงานด้านการบริหารจัดการ ของเสียอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ บริษัทฯ ประสบความส� ำเร็จในการ บรรลุเป้าหมายการลดการฝังกลบ ของเสียอุตสาหกรรมให้เป็นศูนย์ (Zero Wate to Landfill) อย่าง ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 และได้รับเชิญ เ ข้ า ร่ วม เ ป็ นบริษัทต้ นแบบใน โครงการยกระดับมาตรฐานการ จัดการการฝังกลบเป็นศูนย์ (Zero Waste to Landfill) ส� ำหรับสถาน ประกอบการภาคอุตสาหกรรมตามแนว ทางสากล ที่จัดโดย กรมโรงงาน อุตสาหกรรม การควบคุมคุณภาพอากาศ (Air Quality Control) บริษัทฯ จัดท� ำแผนบริหารจัดการ ควบคุมคุณภาพอากาศให้ อยู่ ใน เกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาระบบ ควบคุมคุณภาพอากาศของบริษัทฯ ให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการลดการฟุ้งกระจายและ การรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) โดยใช้กลไกการปฏิบัติที่ดี (Code of Practice: CoP) ควบคู่ไป กับการประสานความร่ วมมือกับ หน่วยงานภายนอก เพื่อลดการปล่อย ไอสารเบนซีน และ 1, 3-บิวทาไดอีน (1, 3-Butadiene) จากโรงงาน อุตสาหกรรมให้น้อยที่สุดและต�่ ำกว่า มาตรฐานทางกฎหมายที่ก� ำหนดไว้ ตลอดจนพัฒนา และปรับปรุง กระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งวางแผนการตรวจสอบ และ ซ่อมบ� ำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องอย่างสม�่ ำเสมอ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดท� ำแผนการยกเลิกใช้ สารอันตรายซึ่งท� ำลายชั้นบรรยากาศ โอโซน โดยยกเลิกการใช้สาร R-22 และปรับเปลี่ยนมาใช้สารท� ำความเย็น ชนิด Non-CFC ภายในปี 2573 โดยในปีนี้ บริษัทฯ ได้ขยายขอบเขต การด� ำเนินงานการจัดการสารอินทรีย์ ระเหยง่าย (VOCs) ให้ครอบคลุม โรงงานที่เกี่ยวข้องในกลุ่มบริษัทฯ เพื่อทุกบริษัทเข้าใจหลักการ และ สามารถรวบรวมข้อมูลบัญชีรายการ สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs Inventory) ที่สอดคล้องกันทั้งกลุ่มบริษัทฯ จากการด� ำเนินงานด้านการควบคุม คุณภาพอากาศ โดยการด� ำเนิน โครงการต่าง ๆ ควบคู่กับการพัฒนา ระบบควบคุมคุณภาพอากาศให้ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริษัทฯ บรรลุ เป้าประจ� ำปีที่ตั้งไว้ และมีแนวโน้ม การปล่อยมลพิษทางอากาศต่อตัน การผลิตลดลงอย่างต่อเนื่อง 92 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=