GC_ONE REPORT 2021_TH

ปัจจัยความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญ ปัจจัยความเสี่ยงด้านความผันผวน ของราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (Price Volatility Risk) แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยัง มีความไม่แน่นอนจากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโควิด-19 ท่ามกลางการ กลายพันธุ์ของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งส่งผล ทำ � ให้กิจกรรมทาง เศรษฐกิจต่างๆ ยังทำ �ได้ไม่เต็มที่ ประกอบกับกำ �ลังการ ผลิตใหม่ๆ ที่เข้ามายังคงเป็นปัจจัยกดดัน ทั้งด้านราคาและปริมาณความต้องการ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ทำ �ให้ ราคาผลิตภัณฑ์มีความผันผวนสูง และ อาจไม่เป็นไปตามแผนธุรกิจ บริษัทฯ ดำ �เนินมาตรการเพื่อบริหารความผันผวนของราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ดังนี้ ติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจ ราคาวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งประเมินผลกระทบต่อผลประกอบการรายสัปดาห์ เพื่อทบทวนแผนการ ผลิตและแผนการขายตลอด Value Chain ให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ตลาดที่ผันผวนและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ป้องกันความเสี่ยงด้านราคาและส่วนต่างราคา รวมถึง Stock Gain/(Loss) รวมเรียกว่า Commodity Hedging โดยใช้ตราสารอนุพันธ์และ/หรือท� ำสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าตามนโยบายและกรอบที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ก� ำหนดภายใต้การดูแลและติดตามของคณะกรรมการ Value Chain Management (VCM) อย่างใกล้ชิด ศึกษาเเละพัฒนาการใช้ Artificial Intelligence หรือ AI เข้ามาเป็นเครื่องมือ ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลและช่วยในการประมาณการราคาผลิตภัณฑ์หลักของ บริษัทฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความแม่นย� ำ ในระยะยาวบริษัทฯ มีการก� ำหนดกลยุทธ์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดที่มี มูลค่าสูงขึ้น (High Value Product) เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของ ราคา Commodity ปัจจัยความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ การแพร่ระบาดของโควิด-19 (Pandemic COVID-19 Risk) การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทั่วโลกส่งผลกระทบให้เกิดการชะลอตัว ของเศรษฐกิจโลก และอาจส่งผลต่อการ ดำ �เนินกิจกรรมสำ �คัญของบริษัทฯ การ ดำ �เนินมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงจาก การแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างเข้มงวด และต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้กระทบต่อการ ดำ �เนินธุรกิจ ภายใต้สถานการณ์การระบาด ในประเทศไทยและทั่วโลกที่ยังอยู่ในระดับสูง จ า กปัญห า ก า ร กล า ยพันธุ์ ข อ ง เ ชื้ อ การกระจายการฉีดวัคซีนที่ไม่ทั่วถึง ประกอบกับการด้อยประสิทธิภาพของ วัคซีนในการยับยั้งเชื้อที่กลายพันธุ์ บริษัทฯ ดำ �เนินมาตรการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของ โควิด-19 ดังนี้ ก� ำหนดโครงสร้างทีมปฏิบัติงานตามแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCP) และ จัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อก� ำหนดแนวทางและมาตรการป้องกันให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยมีการติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่าง ใกล้ชิด รายงานความก้าวหน้าการด� ำเนินงานตามมาตรการต่างๆ ต่อคณะผู้บริหาร รวมทั้งทบทวนแผนการด� ำเนินมาตรการป้องกันต่างๆ ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ น� ำระบบดิจิทัลมาใช้ในการรายงาน การติดตามสุขภาพ การเดินทาง และการ ฉีดวัคซีนของพนักงาน เพื่อให้การคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาด ของโควิด-19 สามารถด� ำเนินการได้อย่างรวดเร็ว ก� ำหนดมาตรการ Lock Up ส� ำหรับพนักงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ กระบวนการผลิตที่มีความส� ำคัญอย่างมีนัยส� ำคัญต่อการด� ำเนินธุรกิจ และเพิ่ม ความเข้มงวดเรื่องการดูแลสุขอนามัยส� ำหรับพนักงานกลุ่ม Lock Up รวมถึง การป้องกันการติดเชื้อในกะและข้ามกะภายในโรงงานเดียวกัน มาตรการปฏิบัติงานจากที่พัก (Work From Home) โดยให้พนักงานที่ท� ำงาน ส� ำนักงานปฏิบัติงาน Work From Home ให้ได้มากที่สุดถึงร้อยละ 100 และ มาตรการป้องกันต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 ของพนักงาน และการแพร่กระจายของโควิด-19 ในส� ำนักงาน โดยบริษัทฯ มีการเตรียม ระบบงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการท� ำงาน Work From Home พร้อมกับเพิ่มมาตรการป้องกันด้าน Cybersecurity มีการคัดกรองและก� ำหนดมาตรการป้องกันต่างๆ เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย ของโควิด-19 ส� ำหรับบุคคลผู้มาติดต่อกับบริษัทฯ เช่น ลูกค้า ผู้รับเหมา เป็นต้น รวมทั้งมีมาตรการค้นหาเชิงรุกทั้งส� ำหรับพนักงาน ผู้รับเหมา และบุคคล ภายนอก พัฒนานวัตกรรมพลาสติกทางการแพทย์ สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อ ป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ส� ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ โดยด� ำเนินการ ร่วมกับพันธมิตรอย่างต่อเนื่อง อาทิ “โครงการล้านความห่วงใย เพิ่มพื้นที่ ปลอดภัยให้ทุกคน” ส่งมอบชุด PPE จ� ำนวน 4 ล้านชุด ให้แก่โรงพยาบาล ทั่วประเทศ 80 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ �กัด (มหาชน) แบบ 56-1 One Report ประจำ �ปี 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=